วันจันทร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2559

วิธีชงชาใบหม่อนที่ถูกต้อง มีขั้นตอนดังนี้


วิธีชงชาใบหม่อนที่ถูกต้อง มีขั้นตอนดังนี้

1. ใช้น้ำร้อนลวกภาชนะชงชา เพื่อให้กาน้ำชาและถ้วยน้ำชาชุ่มชื่น ช่วยฆ่าเชื้อโรค และดับกลิ่นต่าง ๆ

2. ใส่ใบชาในปริมาณที่พอเหมาะ ถ้าเป็นใบชาม้วนประมาณ 1 ใน 3 ของกากน้ำชา ถ้าเป็นใบชาไม่ม้วนประมาณ 1 ใน 2 ของกา

การยื่อขอมาตรฐานการผลิตจากองค์การอาหารและยา (อย.) ชาใบหม่อน


การยื่อขอมาตรฐานการผลิตจากองค์การอาหารและยา (อย.) ชาใบหม่อน

          สำหรับกลุ่มเกษตรกรที่มั่นใจว่ากลุ่มมีการผลิตชาใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)ที่มีคุณภาพและสามารถรักษามาตรฐานคุณภาพได้สม่ำเสมอ ก็สามารถจะนำตัวอย่างชาใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)ที่กลุ่มผลิตยื่นเสนอต่อองค์การอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข เพื่อขออนุญาตให้หน่วยงานดังกล่าวตรวจสอบ

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาใบหม่อน


การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาใบหม่อน

การบรรจุหีบห่อ
          ชาใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)ที่ได้จากขบวนการผลิตที่มีคุณภาพ ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์หม่อน(มัลเบอร์รี่) และใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)ที่มีคุณภาพ และผ่านกรรมวิธีการผลิตชาใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)ตามหลักวิชาการทุกขั้นตอน จะทำให้ได้ชาใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)ที่มีคุณภาพ และปลอดภัยจากสารเคมี ซึ่งถ้าหารเกษตรกรมีการพัฒนารูปแบบการบรรจุหีบห่อก็จะเป็นการเพิ่มมูลค่าผลผลิตได้ระดับหนึ่ง

ข้อควรคำนึง ในการผลิตชาใบหม่อน


ข้อควรคำนึง ในการผลิตชาใบหม่อน

          เนื่องจากชาใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)เป็นเครื่องดื่มที่มีประโยชน์ต่อร่างกายมหาศาล และขบวนการในการผลิตก็ไม่ยุ่งยาก จึงทำให้การบริโภคชาใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)ได้มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามนอกจากผู้ผลิตจะให้ความสำคัญในการคัดเลือกใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)ที่มีคุณสมบัติตามรายละเอียดดังกล่าวแล้ว (คุณสมบัติของใบหม่อนที่ใช้ทำชา) สิ่งสำคัญที่ผู้ผลิตจะต้องคำนึงถึง คือ

คุณประโยชน์ของชาใบหม่อน


คุณประโยชน์ของชาใบหม่อน

          จากรายงานของ Preventive Effect of Mulberr Leaves on Adult Disease พบว่าชาใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)มีคุณสมบัติในการรักษาโรคต่าง ๆ ได้ โดยมีการศึกษาในหนูทดลอง สรุปได้ดังนี้

วิธีการทำชาใบหม่อนในระดับครัวเรือน


วิธีการทำชาใบหม่อนในระดับครัวเรือน

ชาเขียว
          ใช้ใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)สด ได้ทั้งใบอ่อนและใบแก่ มีขั้นตอนการทำดังต่อไปนี้
1. คัดใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)ที่ไม่มีคุณภาพออก เช่น ใบเป็นโรค ใบเหลือง หรือ มีสิ่งเจือปน

2. หันใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)ให้มีขนาดประมาณ 0.5 x 4.0 เซนติเมตร ตัดก้านใบออก

3. ลวกน้ำร้อน 20-30 วินาที หรือนึ่งประมาณ 1 นาที

4. ถ้าลวกในน้ำร้อน จุ่มน้ำเย็นทันที ผึ่งลมให้แห้งหมาด ๆ

5. คั่วในกระทะด้วยไฟอ่อน ๆ ประมาณ 20 นาที

6. อบที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียล นาน 1 ชั่วโมง สามารถเก็บไว้ดื่มได้นาน

อุปกรณ์และวัตถุดิบในการทำชาใบหม่อนในระดับครัวเรือน


อุปกรณ์และวัตถุดิบในการทำชาใบหม่อนในระดับครัวเรือน

วัตถุดิบ
- ใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)สด หม่อนพันธุ์นครราชสีมา 60 หรือ หม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 60 ซึ่งเป็นวัตพุดิบหลักในการผลิตชา

คุณสมบัติของใบหม่อนที่ใช้ทำชา


คุณสมบัติของใบหม่อนที่ใช้ทำชา

          1. พันธุ์ ใช้พันธุ์ส่งเสริมของทางราชการ คือ หม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 60 หรือ หม่อนพันธุ์นครราชสีมา 60 ซึ่งทั้งสองพันธุ์เป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูง ใบขนาดใหญ่หนา ไม่เหนี่ยวง่าย เหมาะสมกับการผลิตเป็นชา

การผลิตชาใบหม่อน (มัลเบอร์รี่)


การผลิตชาใบหม่อน (มัลเบอร์รี่)

          จากรายงานการศึกษาวิจัยจากประเทศญี่ปุ่นพบว่าใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)มีคุณสมบัติในการป้องกันและรักษาโรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ช่วยลดคอเลสเตอรอล และความดันโลหิตสูง ดังนั้น จึงมีการผลิตชาจากใบหม่อน(มัลเบอร์รี่)เป็นเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ซึ่งได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง เนื่องจากหม่อน(มัลเบอร์รี่)เป็นพืชปราศจากสารพิษ และเป็นที่รู้จักของชาวญี่ปุ่นมาเป็นเวลาช้านาน พบว่าหม่อน(มัลเบอร์รี่)มีแร่ธาตุ และวิตามินที่เป็นประโยชน์ต่อร่างการโดยรวมสูงกว่าชา อาทิ แคลเซียม โปแตสเซียม โวเดียม แมกนีเซียม เหล็ก สังกะสี วิตามินเอ วิตามินบี 1 บี 2 และวิตามินซี

สารอาหารในใบหม่อน (มัลเบอร์รี่)


สารอาหารในใบหม่อน (มัลเบอร์รี่)

     ใบหม่อน (มัลเบอร์รี่) นอกจากใช้เลี้ยงไหมแล้ว ยังใช้ประกอบเป็นอาหารได้หลายชนิด ทั้งนี้เพราะว่าใบหม่อน (มัลเบอร์รี่) สามารถช่วยเพิ่มรสชาติของอาหารและมีสรรพคุณทางด้านโภชนาการ เนื่องจากมีโปรตีนและแร่ธาตุอาหารต่าง ๆ สูง นอกจากนี้ในประเทศจีน เกาหลี และญี่ปุ่น มีการนำใบหม่อน (มัลเบอร์รี่) มาใช้ในการประกอบอาหารเสริมสุขภาพและใช้เป็นพืชสมุนไพรตั้งแต่สมั้ยโบราณ

สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของหม่อน (มัลเบอร์รี่)


สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของหม่อน (มัลเบอร์รี่)

     การเจริญเติบโตของหม่อน(มัลเบอร์รี่)มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้แก่ แสงแดด อุณหถูมิ น้ำ อากาศ แร่ธาตุ และอื่น ๆ ซึ่งสภาพแวดล้อมต่าง ๆ เล่านี้จะมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน เช่น ในสภาพที่มีอุณหภูมิพอเหมาะ มีน้ำเพียงพอ ดินอุดมสมบูรณ์ ต้นไม่อนจะสามารถเจริญเติดโตได้ดี หรือในสภาพต้นหม่อน(มัลเบอร์รี่)จาดแสงแดด ทำให้ใบไม่สามารสังเคราะห์แสงได้ก็จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของหม่อน(มัลเบอร์รี่)ได้เช่นกัน จะเห็ดได้ว่าสภาพแวดล้อมมีผลกระทบโดยตรงต่อหม่อน(มัลเบอร์รี่) ดังนั้น เทคนิคที่ใช้ในการเขตกรรมหม่อน(มัลเบอร์รี่) จึงจำเป็นต้องอาศัยพื้นฐานจากความต้องการของหม่อน(มัลเบอร์รี่)ในการเจริญเติบโต ซึ่งสภาพแวดล้อมดังกล่าว ได้แก่

หม่อน (มัลเบอร์รี่)


หม่อน (มัลเบอร์รี่)

          หม่อน (มัลเบอร์รี่) เป็นพืชยืนต้น เจริญเติบโตได้ทั้งในเขตอากาศหนาวอุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียสไปจนถึงเขตอากาศร้อน แต่อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของหม่อน (มัลเบอร์รี่) อยู่ระหว่าง 25-30 องศาเซลเซียส หม่อน (มัลเบอร์รี่) ที่ปลูกในเขตหนาวจะหยุดพักตัวไม่เจริญเติบโตนับแต่ปลายฤดูใบไม้ร่วงไปจนถึงฤดูใบไม้ผลิจึงเริ่มแตกกิ่งเจริญเติบโตต่ออีกครั้ง สวนหม่อน (มัลเบอร์รี่) ที่ปลูกในเขตร้อนจะเจริญเติบโตโดยไม่มีระยะพักตัว

ชาใบหม่อน


ชาใบหม่อน

          คนทั่วไปรู้จักต้นหม่อนในลักษณะพืขที่ใช้ประโยชน์จากใบในการเลี้ยงไหมเพื่อผลิตเส้นไหม ซึ่งเป็นเส้นใยธรรมชาติที่มีความสวยงามเป็นเอกลักษณ์ และมีความสำคัญอย่างยิ่งในทางเศรษฐกิจ นอกจากประโยชน์ดังกล่าวแล้ว ใบหม่อนยังมีประโยชน์ต่อสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงอายุ ดังนั้นจึงได้มีการนำใบหม่อนมาผลิตชาเพื่อเป็นครื่องดื่มบำรุงสุขภาพ ซึ่งปัจจุบันได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง